วันที่ 20 สิงหาคม 2557 ที่โรงแรมสามพรานริเวอร์ไซด ์ อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม นายมนู สร้อยพลอย นายอำเภอสามพราน พร้อมด้วยหัวหน้าส่วนราชการ ในจังหวัดนครปฐม หน่วยงานที่เกี่ยวข้องทั้งภ าครัฐ ภาคเอกชน องค์การบริหารส่วนตำบล 17 ตำบล สถาบันการศึกษา และภาควิชาการ ร่วมลงนามความร่วมมือเพื่อพ ัฒนาโซ่อุปทานสินค้าเกษตรอิ นทรีย์ ในโครงการสามพรานโมเดล เพื่อร่วมกันก้าวข้ามการใช้ สารเคมี สู่การทำเกษตรเกษตรอินทรีย์ และร่วมผลักดันต้นน้ำ กลางน้ำ ปลายน้ำ โดยเฉพาะผู้บริโภค ได้เห็นถึงความสำคัญถึงพิษภ ัยของสารเคมี และหวังพลิกฟื้นชื่อเสียงแห ล่งปลูกและจำหน่ายพืชผักผลไ ม้คุณภาพดี โดยมีนายทรงศักดิ์ วงศ์ภูมิวัฒน์ อดีตอธิบดีกรมส่งเสริมการเก ษตร ที่ปรึกษาโครงการสามพรานโมเ ดล ร่วมเป็นสักขีพยานในครั้งนี ้
นายมนู สร้อยพลอย นายอำเภอสามพราน กล่าวว่า อำเภอสามพรานเป็นพื้นที่เพา ะปลูกและจำหน่ายผลไม้ที่มีช ื่อเสียงระดับประเทศ เป็นที่ยอมรับถึงคุณภาพ แต่ด้วยปัจจุบันกระแสของการ โฆษณาในเรื่องต่างๆ ทำให้เกษตรสำคัญผิดในเรื่อง ของการเพิ่มคุณภาพและปริมาณ พืชผักผลไม้ด้วยสารเคมี ทำให้มีต้นทุนสูง มีการใช้สารเคมีในการเกษตรก ันอย่างแพร่หลาย ทางอำเภอจึงได้ร่วมกับหลายภ าคส่วนร่วมมือนำโมเดลที่เรี ยกว่าสามพรานโมเดลที่ขับเคล ื่อนโดยมูลนิธิสังคมสุขใจ สนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนส นับสนุนการวิจัย (สกว.) สำนักงานกองทุนสนับสนุนการส ร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และสถาบันวิชาการด้านสหกรณ์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (บางเขน) มาใช้เป็นแนวทางในการสร้างค วามร่วมมือกับทั้งหน่วยงานร าชการ ท้องถิ่น พลังชุมชน เกษตรกร และนักวิชาการ ในการช่วยกันปรับเปลี่ยนแนว คิดในการทำเกษตรตั้งแต่ต้นท าง ไม่ว่าจะเป็นตัวเกษตรกรผู้ป ลูก เรื่องดิน เรื่องน้ำ ผลิตผล รวมถึงระบบการตลาด โดยทำแบบครบวงจร เพื่อให้การเกษตรของอำเภอสา มพรานดำรงอยู่อย่างยั่งยืน
ด้านนายอรุษ นวราช เลขานุการมูลนิธิสังคมสุขใจ และกรรมการผู้จัดการสามพราน ริเวอร์ไซด์ กล่าวว่า สามพรานโมเดล เกิดจากแนวคิดที่อยากได้ผัก ผลไม้ ที่เป็นอินทรีย์บริการกับลู กค้าที่มาใช้บริการของสามพร านริเวอร์ไซด์ จึงเริ่มต้นด้วยการปลูกผักอ ินทรีย์ในพื้นที่ 30 ไร่ ตรงข้ามฝั่งแม่น้ำของโรงแรม เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบตามห้อ งอาหาร แต่ยังไม่เพียงพอ ต่อมามีเกษตรกรบางส่วนในพื้ นที่ใกล้เคียงต้องการจะปรับ เปลี่ยนการทำเกษตรแบบเคมีมา สู่อินทรีย์ แต่ยังขาดองค์ความรู้ และที่สำคัญที่สุดคือการตลา ด จึงเข้ามาร่วมกับสามพรานริเ วอร์ไซด์ เกิดขึ้นเป็นกลุ่มธุรกิจเชิ งคุณค่าสามพราน พร้อมเริ่มทำตลาดทางเลือกให ้กับเกษตรกร คือ ตลาดสุขใจ ซึ่งเปิดดำเนินการมาแล้วเกื อบ 4 ปี จำหน่ายพืชผักอินทรีย์และอา หารปลอดภัย โดยการตลาดมีการตรวจสอบสารเ คมีตกค้างเพื่อสร้างความมั่ นใจให้กับผู้บริโภค ช่วงแรกตลาดยังไม่เป็นที่รู ้จักมากนัก แต่ปัจจุบันมีคนเดินทางมาปร ะมาณวันละ 1,000 คน เปิดขายเฉพาะวันเสาร์และวัน อาทิตย์ มีรายได้เฉลี่ยเดือนละ 2.1 ล้านบาท
สำหรับสิ่งที่สำคัญมากในการ ทำเกษตรอินทรีย์ คือมาตรฐานที่ต้องการให้เกษ ตรกรได้ คือ มาตรฐาน IFOAM – International Federation of Organic Agriculture Movement ซึ่งคาดว่าจะมีเกษตรกรในโคร งการฯ ได้รับรองมาตรฐานในปีนี้ประ มาณ 30 ราย
ประชาสัมพันธ์จังหวัดนครปฐม / เรวัติ น้อยวิจิตร นสพ.พลังชน
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น